พร บ คุ้มครอง ผู้ ประสบ ภัย จาก รถ จักรยานยนต์

  1. เรื่องของพ.ร.บ.
  2. พ.ร.บ. มอเตอร์ไซค์ คุ้มครองอะไรบ้าง และสามารถเบิกได้เท่าไหร่
  3. พรบ.ผู้ประสบภัยจากรถ ล่าสุด

ผู้มีหน้าที่ต้องทำประกันภัยรถภาคบังคับ ได้แก่ เจ้าของรถ ผู้ครอบครองรถในฐานะผู้เช่าซื้อรถ และเจ้าของรถที่นำรถที่จดทะเบียนในต่างประเทศเข้ามาใช้ในประเทศ การฝ่าฝืนไม่ทำประกันภัย พ. ร. บ. จะได้รับโทษปรับไม่เกิน 10, 000 บาท

เรื่องของพ.ร.บ.

มอเตอร์ไซค์ ได้สูงสุดคนละไม่เกิน 80, 000 บาท (จ่ายตามจริง) กรณีเสียชีวิตหรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง ได้รับเงินค่าชดเชยคนละ 5 00, 000 บาท กรณีทุพพลภาพถาวร (ไม่สามารถประกอบอาชีพประจำได้) ได้รับเงินชดเชยคนละ 300, 000 บาท กรณีสูญเสียอวัยวะ สูญเสียนิ้ว ตั้งแต่นิ้วเดียวขึ้นไป คนละ 200, 000 บาท สูญเสียอวัยวะ 1 ส่วน คนละ 250, 000 บาท สูญเสียอวัยวะ 2 ส่วนขึ้นไป คนละ 500, 000 บาท กรณีนอนพักรักษาตัวเป็นผู้ป่วยใน ได้รับเงินค่าชดเชย 200 บาทต่อวัน สูงสุดไม่เกิน 20 วัน ทั้งนี้ ความคุ้มครองจาก พ. จะให้ความคุ้มครองเฉพาะรถมอเตอร์ไซค์คันที่มี พ. มอเตอร์ไซค์ เท่านั้น หากรถล้มเอง และรถคันนั้นไม่มี พ. มอเตอร์ไซค์ หรือ พ. มอเตอร์ไซค์ หมดอายุ ก็จะไม่ได้รับความคุ้มครองจาก พ. นั่นเอง แต่หากกรณีที่เราเป็นฝ่ายถูก จะสามารถเบิกพ. ของคู่กรณีที่เป็นฝ่ายผิดได้ค่ะ แต่ในทางกลับกันหาก รถมอเตอร์ไซค์ ของเราไม่มี พ. และไปชนคนอื่น ฝ่ายคู่กรณีที่เป็นฝ่ายถูกสามารถเรียกร้องค่าเสียหายเบื้องต้นได้จากสำนักงานกองทุนทดแทนผู้ประสบภัยจากรถ เป็นค่ารักษาพยาบาลตามจริงไม่เกิน 15, 000 บาท หากเสียชีวิต 35, 000 บาท หลังจากนั้นทางกองทุนจะไปไล่เบี้ยคืนจากเจ้าของรถ โดยบวกเงินเพิ่มอีก 20% พร้อมค่าปรับที่ไม่ทำ พ.

  • Audrey cafe bistro สาขา san antonio
  • ยา สระ ผม love beauty and planet deodorant
  • วิริยะประกันภัย | THE VIRIYAH INSURANCE

พ.ร.บ. มอเตอร์ไซค์ คุ้มครองอะไรบ้าง และสามารถเบิกได้เท่าไหร่

มอเตอร์ไซค์ ได้สูงสุดคนละไม่เกิน 80, 000 บาท (จ่ายตามจริง) กรณีเสียชีวิต หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง ได้รับเงินชดเชยคนละ 5 00, 000 บาท กรณีสูญเสียอวัยวะ สูญเสียนิ้ว ตั้งแต่นิ้วเดียวขึ้นไป คนละ 200, 000 บาท สูญเสียอวัยวะ 1 ส่วน คนละ 250, 000 บาท ทุพพลภาพถาวร คนละ 300, 000 บาท สูญเสียอวัยวะ 2 ส่วนขึ้นไป คนละ 5 00, 000 บาท กรณีเป็นผู้ป่วยใน จะได้รับเงินชดเชยวันละ 200 บาท แต่จะต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาลสูงสุดไม่เกิน 20 วัน เอกสารที่ใช้ในการเบิก พ. รถยนต์ กรณีบาดเจ็บ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ประสบภัย ใบเสร็จค่ารักษาพยาบาลจากโรงพยาบาลที่เข้ารับการรักษา กรณีทุพพลภาพ ใบรับรองแพทย์ หนังสือรับรองคนพิการ หรือหลักฐานความเห็นของแพทย์ที่ระบุว่าผู้ประสบภัยเป็นผู้ทุพพลภาพ สำเนาบันทึกประจำวันของพนักงานสอบสวน ที่แสดงว่าเป็นผู้ได้รับความเสียหายจากการประสบภัยจากรถ กรณีเสียชีวิต สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้เสียชีวิต สำเนาใบมรณะบัตร สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของทายาทโดยธรรม สำเนาบันทึกประจำวันของพนักงานสอบสวน ที่แสดงว่าผู้นั้นเสียชีวิตเพราะประสบภัยจากรถ ทั้งนี้ ผู้ประสบภัย ผู้ได้รับมอบอำนาจ หรือทายาทโดยธรรม สามารถทำเรื่อง เบิกค่าเสียหายจาก พ.

พรบรถจักรยานยนต์คุ้มครองอะไรบ้าง

พรบ.ผู้ประสบภัยจากรถ ล่าสุด

รถที่ต้องทำประกันภัยตาม พ. ร. บ. ได้แก่รถทุกชนิดทุกประเภทตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ กฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก กฎหมายว่าด้วยรถยนต์ทหาร เป็นรถที่เจ้าของมีไว้ใช้ ไม่ว่ารถดังกล่าวจะเดินด้วยกำลังเครื่องยนต์ กำลังไฟฟ้า หรือพลังงานอื่น เช่น รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถสามล้อเครื่อง รถยนต์โดยสาร รถบรรทุก หัวรถลากจูง รถพ่วง รถบดถนน รถอีแต๋น ฯลฯ ดังนั้น การที่มีรถบางประเภท กรมการขนส่งทางบกไม่รับจดทะเบียน แต่หากเข้าข่ายว่ารถนั้นเดินด้วยกำลังเครื่องยนต์ กำลังไฟฟ้า หรือพลังงานอื่นแล้วก็จัดเป็นรถที่ต้องทำประกันภัยตาม พ. ด้วย สถานะข้อมูล:

ส่วนรถที่ได้รับการยกเว้นการทำพรบคือรถเฉพาะองค์พระมหากษัตริย์ พระราชทายาทหรือผู้สำเร็จราชการแทน รถของสำนักพระราชวังที่จดทะเบียนและมีเครื่องหมายตามพระราชวังกำหนด รถของกระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ และรถทหาร และรถของหน่วยงานธุรการขององค์กรที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญ ต้องทำพรบ เพราะ พ. คือการประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ 1. เป็นหน้าที่ของเจ้าของรถที่ต้องถือปฏิบัติตามกฎหมายกำหนด 2. กฎหมายได้กำหนดให้มีส่วนร่วมในการสร้างหลักประกันต่อสังคม 3. เป็นการแบ่งเบาภาระของผู้ที่ขับขี่หรือเจ้าของรถหากต้องรับผิดชอบเมื่อเกิดอุบัติเหตุ 4. เป็นมาตรการการลดปัญหาทางสังคมด้านหนึ่งซึ่งไม่ต้องรอการพิสูจน์ความผิด 5. เป็นมาตรการบรรเทาผลร้ายต่อผู้เสียหายหากเกิดการรับผิดชอบ 6. เป็นการแบ่งเบาภาระของรัฐด้านการักษาทรัพยากรมนุษย์ ตารางความคุ้มครอง ประกันภัยรถยนต์ ภาคบังคับ (พ. ) ความคุ้มครอง วงเงินคุ้มครอง ( บาท / คน) 1 จำนวนเงิน ค่าเสียหายเบื้องต้น ได้รับโดยไม่ต้องรอพิสูจน์ความผิด 1. 1 ค่ารักษาพยาบาล จากการบาดเจ็บ (ตามจริง) 30, 000 1. 2 การเสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ หรือทุพพลภาพอย่างถาวร 35, 000 2 ค่าเสียหายส่วนที่เกินกว่าค่าเสียหายเบื้องต้น สำหรับผู้ประสบภัย (จะได้รับภายหลังจากการพิสูจน์แล้วว่าไม่ได้เป็นฝ่ายละเมิด) 2.

December 24, 2021, 9:37 am